Page 27 - แผนพัฒนาเทศบาล (พ.ศ.2566-2570) แก้ไข ครั้งที่ 1/2566
P. 27

-๑๙-

                                                                                        ้
                                                                                        ั
                    ั
                                                                                               ั
                                                                                               ้
                                                                                            
                                    
                                                                     ิ
                         ุ
               การพฒนาทกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนความคดเห็นอยางกวางขวางตงแตในขนตอนการกำหนด
                                                                                                   
                                                               ้
                      ิ
                                                                              ั
                                                                                         ี
                                                                                                              ี
                                                                                                              ่
               กรอบทศทางของแผนไปจนถึงการยกรางแผนนอกจากนี การจัดทำแผนพฒนาฯ ฉบับท่ ๑๓ ยังอยูในชวงเวลาท
                                                  
                                                                           ่
                                                                                      ่
                          ึ
                                                ั
                 ั
                                                                                                      
               ทวโลกรวมถงประเทศไทยตองเผชิญกบขอจำกดหลากหลายประการทเปนผลสืบเนืองจากสถานการณการแพร
                                                                           ี
                 ่
                                                       ั
                                   ึ
                                   ่
                                      
                                         ี
                                                                                           
                                                                                                         ื
               ระบาดของโควิด-๑๙ ซงไมเพยงแตกอใหเกิดการเจ็บปวยและเสียชีวิตของประชากร แตยังสงผลใหเกิดเง่อนไข
                                               
               ทางเศรษฐกิจและการดำเนินชีวิตของประชาชนทุกกลุม นอกจากนี้ ในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ ๑๓ ยังเปน
                                                                                                    ี
                        ่
               ชวงเวลาทมแนวโนมของการพฒนาของเทคโนโลยีอยางกาวกระโดด การเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศทมความ
                         ี
                        ี
                                                                                                         ี
                                                                                                        ่
                                                                                                        ี
                                                                                 ่
                                         ั
                          ึ
                                                                                ั
               รุนแรงเพมข้นการเปนสังคมสูงวัยของประเทศไทยและหลายประเทศท่วโลก ตลอดจนการเปลี่ยนแปลง
                        ิ
                        ่
                                                                                       
                                                    ้
                                                                         ั
               ดานภูมรัฐศาสตรระหวางประเทศ ดังนัน การขับเคลื่อนการพฒนาประเทศทามกลางกระแสแนวโนม
                      ิ
                      ่
                              ั
                                                                                                    ิ
                                                                              ็
               การเปลียนแปลงดงกลาวจึงตองใหความสำคัญกับการเสริมสรางความเขมแขงจากภายในใหสามารถเตบโตตอไปได  
                                       
                                                                                                        
                                                                                            ั
                                                                                                       ิ
                                                        
               อยางม่นคงทามกลางความผันแปรท่เกดข้นรอบดาน และคำนึงถึงผลประโยชนของประเทศท้งทางเศรษฐกจ สังคม
                                             ี
                     ั
                                               ิ
                                                  ึ
               และสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
                      ในการกำหนดทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๓ ใหประเทศสามารถกาวขามความทาทายตางๆ เพื่อให
               “ประเทศไทยมีความมั่นคง มงคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
                                       ั่
               พอเพียง” ตามเจตนารมณของยุทธศาสตรชาติ ไดอาศัยหลักการและแนวคิด ๔ ประการ ดังนี้
                      ๑. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                      ๒. การสรางความสามารถในการ
                      ๓. เปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืนของสหประชาชาติ
                      ๔. การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว

                      เพื่อถายทอดเปาหมายหลักไปสูภาพของการขับเคลื่อนที่ชัดเจนในลักษณะของวาระการพฒนาที่เออใหเกด
                                                                                                      ื้
                                                                                               ั
                                                                                                            ิ
               การทำงานรวมกันของหลายหนวยงานและหลายภาคสวนในการผลักดันการพัฒนาเรื่องใดเรื่องหนึ่งใหเกิดผลได
               อยางเปนรูปธรรม แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๓ จึงไดกำหนดหมดหมายการพัฒนา จำนวน ๑๓ หมดหมาย   ซึ่งเปนการ
                                                                                             ุ
                                                                ุ
               บงบอกถึงสิ่งที่ประเทศไทยปรารถนาจะ “เปน” หรือมงหวังจะ “มี” เพื่อสะทอนประเด็นการพัฒนาที่มีลำดับ
                                                                              
                                                            ุ
               ความสำคัญสูงตอการพลิกโฉมประเทศไทยสู “สังคมกาวหนา เศรษฐกิจสรางมูลคาอยางยั่งยืน” โดยหมุดหมายทั้ง
                                   
               ๑๓ ประการ แบงออกไดเปน ๔ มิติ ดังนี้
                                                                         
                      1.2.๑  มิติภาคการผลิตและบริการเปาหมาย  ประกอบไปดวย
                      หมุดหมายที่ ๑ ไทยเปนประเทศชั้นนำดานสินคาเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลคาสูง
                                                                                       
                                                                      ุ
                      หมุดหมายที่ ๒ ไทยเปนจุดหมายของการทองเที่ยวที่เนนคณภาพและความยั่งยืน
                      หมุดหมายที่ ๓ ไทยเปนฐานการผลิตยานยนตไฟฟาที่สำคัญของโลก
                      หมุดหมายที่ ๔ ไทยเปนศูนยกลางทางการแพทยและสุขภาพมูลคาสูง
                      หมุดหมายที่ ๕ ไทยเปนประตูการคาการลงทุนและยุทธศาสตรทางโลจิสติกสที่สำคัญของภูมิภาค
                      หมุดหมายที่ ๖ ไทยเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะและอุตสาหกรรม
               ดิจิทัลของอาเซียน
                                                                                      
                      1.2.2 มิติโอกาสและความเสมอภาคทางเศรษฐกิจและสงคม  ประกอบไปดวย
                                                                      ั
                                                                           ็
                                              ิ
                                                                               ั
                      หมุดหมายที่ ๗ ไทยมีวิสาหกจขนาดกลางและขนาดยอมที่เขมแขง มีศกยภาพสูง และสามารถแขงขันได
                                                                                                     
                                                  ื
                      หมุดหมายที่ ๘ ไทยมีพื้นที่และเมองอัจฉริยะที่นาอยู ปลอดภัย เติบโตไดอยางยั่งยืน
                      หมุดหมายที่ ๙ ไทยมีความยากจนขามรุนลดลง และมีความคุมครองทางสังคมที่เพียงพอเหมาะสม
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32