Page 46 - แผนพัฒนาเทศบาล (พ.ศ.2566-2570) แก้ไข ครั้งที่ 1/2566
P. 46
-37-
่
ี
3. มีแผนพฒนาเทศบาลทมาจากการมีสวนรวมของประชาชน โดยใชเปนกรอบในการ
ั
กำหนดทิศทางการพัฒนา
ี
4. บุคลากรมีความรูความสามารถในตำแหนงตามมาตรฐานกำหนด และมประสบการณใน
ั
การทำงาน อีกทั้งมความพรอมในการพัฒนา ซึ่งบุคลากรไดรับการสงเสริมศกยภาพโดยใหเขารับการฝกอบรม
ี
5. มีรายไดเปนของตนเองและไดรับเงินอุดหนุนจากสวนกลาง ทำใหมีศกยภาพในการพฒนา
ั
ั
เทศบาล
6. มความพรอมในเรื่องเครื่องมือและอุปกรณในการทำงาน
ี
7. มีการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการปฏิบัติงานทำใหเกิดความรวดเร็ว ลด
ขั้นตอนและลดความซ้ำซอนในการปฏิบัติงานไดมากขึ้น
ี่
8. มแหลงทองเทยวทมชื่อเสียงดานวัฒนธรรมและอาหารอรอย สามารถพฒนาใหกลายเปน
ี
ี่
ี
ั
แหลงทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงได
ิ
่
ึ
่
้
ั
9. มีกลุมอาชีพดงเดิมและมีวัฒนธรรมท่เปนเอกลักษณของทองถน ซงไดรับการสนับสนุน
ี
การดำเนินงานและมีการประชาสัมพันธจากสื่อตางๆ
จุดออน (Weakness) = W
1. สายการบังคับบัญชายาวทำใหเกิดความลาชาในการปฏิบัติงานและการบริการประชาชน
ิ
ี
่
๒. ระเบียบ กฎหมายกำหนดอำนาจหนาท่ของทองถนไวไมชัดเจน จึงเปนปญหาในการทำงาน
และสงผลใหถูกทักทวงจากสำนักงานตรวจเงินแผนดิน
3. บุคลากรบางสวนขาดความรักองคกร ขาดความเปนทม และการทำงานเชิงรุกเนืองจากม ี
่
ี
่
ลักษณะในการทำงานตามสั่งและนโยบาย และไมยอมรับการเปลียนแปลงจากภายนอก
ี
ิ
4. บุคลากรไมเพยงพอในการปฏิบัตงานในบางภารกิจ ซงมความจำเปนตองใชบุคลากรทมทกษะ
่
ึ
ี
่
ี
ี
ั
ความรูความชำนาญโดยตรงมาปฏิบัติงาน
ี
ี
ั
5. งบประมาณท่มาจากรายไดจัดเก็บเองของเทศบาลไมเพยงพอตอการบริหารงานและพฒนา
ทองถิ่น โดยเฉพาะโครงการพัฒนาขนาดใหญ
6. ระบบการติดตอสื่อสาร การติดตาม และการประสานงานภายในเทศบาลยังขาดประสิทธิภาพ
โอกาส (Opportunity) = O
1. มีการถายโอนภารกิจจากราชการสวนกลางใหกับสวนทองถิ่นมากขึ้น ทำใหทองถิ่นตองมการ
ี
พัฒนามากขึ้นเพื่อรองรับภารกิจถายโอน
ิ
ื่
2. การเขาสูประชาคมอาเซียนทำใหทองถิ่นตองเตรียมความพรอมและปรับตัวเพอรองรับภารกจใน
หลายๆ ดาน เชน เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงภายใน สาธารณสุข เปนตน
3. โครงการรถไฟฟาความเร็วสูงในเสนทางจาก อ.พน้ำรอน–กาญจนบุรี-กรุงเทพฯ-ฉะเชิงเทรา-
ุ
ี
ิ
สระแกว-กัมพชา เพอเชื่อมตอการเดนทางจากเมยนมาร–ไทย-กัมพูชา สามารถกระจายความเจริญมาสูจังหวัด
่
ื
ู
กาญจนบุรีในการดึงดูดนักลงทุนเขามาลงทุนในพื้นท ี่
่
4. การพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทรวดเร็ว ทำใหมีเทคโนโลยีทางเลือก
ี
สำหรับใชในการบริหารและการบริการประชาชนที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ
ุ
5. แผนพฒนาเศรษฐกจและสังคมแหงชาติ ฉบับท 1๓ (พ.ศ. 25๖๖ – 25๗๐) ไดกำหนดหมด
ิ
่
ี
ั
ั
ึ่
หมายการพฒนา จำนวน ๑๓ หมุดหมาย ซงเปนการบงบอกถึงสิ่งทประเทศไทยปรารถนาจะ “เปน” หรือมงหวังจะ
ี่
ุ
ิ
ี่
“มี” เพื่อสะทอนประเด็นการพัฒนาทมีลำดับความสำคัญสูงตอการพลิกโฉมประเทศไทยสู “สังคมกาวหนา เศรษฐกจ
สรางมูลคาอยางยั่งยืน”