Page 7 - รายงานการติดตามผลรอบ6เดือน
P. 7

บทที่  1

                                                            บทนำ




                                                                                  ิ
                                องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทและอำนาจหน้าที่ มีอสระในการบริหารจัดการท้องถิ่น
                                                                                         ื้
                  ของตนเอง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ทั้งในด้านโครงสร้างพนฐาน ด้านงานส่งเสริม
                  คุณภาพชีวิต ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย ด้านการวางแผน การส่งเสริม
                  การลงทุนพาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว ด้านการบริหารจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

                  สิ่งแวดล้อม และด้านศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งผลให้องค์กรปกครองส่วน

                  ท้องถิ่นมีบทบาทและอำนาจหน้าที่ต่างๆ เพมมากขึ้น แต่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่ยังคงมีทรัพยากร
                                                      ิ่
                                                                          ื่
                  จำกัด ทั้งทรัพยากรบุคคล งบประมาณ และวัสดุ อุปกรณ์ ดังนั้น เพอให้การดำเนินงานขององค์กรเป็นไปอย่าง
                  มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล มีความโปร่งใส และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ท้องถิ่นของตน “แผนพัฒนา
                                                                                                        ั
                                                                                        ั
                  ท้องถิ่น” ในปัจจุบันได้ปรับเปลี่ยนแผนยุทธศาสตร์โดยนำกรอบยุทธศาสตร์การพฒนาไปไว้ในแผนพฒนา
                  ท้องถิ่น อันเป็นเครื่องมือที่สำคัญประการหนึ่งที่จะทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถดำเนินงานได้ตาม

                  เป้าหมายที่วางไว้ จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดแผนสามารถตอบสนองต่อการทำงานเพอพฒนาท้องถิ่นและ
                                                                                           ื่
                                                                                              ั
                  สามารถบ่งชี้ความสำเร็จของแผนได้ด้วย
                                ด้วยเหตุที่การวางแผนมีความสำคัญ 5 ประการ คือ (1) เป็นการลดความไม่แน่นอนและ

                  ปัญหาความยุ่งยากซับซ้อนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (2) ทำให้เกิดการยอมรับแนวความคิดใหม่ๆ เข้ามาในองค์กร
                  (3) ทำให้การดำเนินการขององค์กรบรรลุเป้าหมายที่ปรารถนา (4) เป็นการลดความสูญเปล่าของหน่วยงานที่

                  ซ้ำซ้อน และ (5) ทำให้เกิดความแจ่มชัดในการดำเนินงาน ดังนั้นการวางแผนจึงก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนี้ คือ
                  ทำให้การดำเนินงานบรรลุจุดมุ่งหมาย เป็นการประหยัดลดความไม่แน่นอนใช้เป็นเกณฑ์ในการควบคุม ส่งเสริม

                  ให้เกิดนวัตกรรมและการสร้างสรรค์ พัฒนาแรงจูงใจ พัฒนาการแข่งขัน และทำให้เกิดการประสานงานที่ดี

                                                             ิ
                                ดังนั้น การวางแผนจึงเป็น “การพจารณาและกำหนดแนวทางปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายที่
                  ปรารถนา เปรียบเสมือนเป็นสะพานเชื่อมโยงระหว่างปัจจุบันและอนาคต (Where we  are to where we

                  want to)  เป็นการคาดการณ์สิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น  ฉะนั้นการวางแผนจึงเป็นกระบวนการทางสติปัญญาที่
                  พิจารณา  กำหนดแนวทางปฏิบัติงาน  มีรากฐานการตัดสินใจตามวัตถุประสงค์  ความรู้และการคาดคะเนอย่าง

                          ิ
                                                                                                           ื่
                  ใช้ดุลยพนิจ  ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่า “การวางแผนคือ ความพยายามที่เป็นระบบ (System attempt)  เพอ
                  ตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดสำหรับอนาคต  เพื่อให้องค์การบรรลุผลที่ปรารถนา”
                                                                                         ั
                                จากที่กล่าวมาข้างต้น  แม้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีแผนพฒนาท้องถิ่นที่ดีเท่าไรก็
                  ตาม  แต่หากไม่สามารถบ่งชี้ถึงผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นได้  ก็ไม่สามารถที่จะบ่งบอกความสำเร็จของ

                  แผนพฒนาท้องถิ่นได้  “ระบบติดตาม”  จึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้การปรับปรุงประสิทธิภาพใน การ
                       ั
                                              ิ
                  ดำเนินงาน  รวมถึง “ระบบประเมนผล”  ที่คอยเป็นตัวบ่งชี้ว่า ผลจากการดำเนินงานเป็นไปตามหรือบรรลุตาม
                                          ื่
                  เป้าหมายหรือไม่อย่างไร  เพอนำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการปรับปรุง  แก้ไข  ขยายขอบเขต หรือแม้แต่ยุติการ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12