Page 12 - แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต66-70
P. 12

2. หลักการและเหตุผล

                        รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 65 กำหนดใหรัฐพึงจัดใหมียุทธศาสตร
               ชาติเปนเปาหมายการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน ตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใชเปนกรอบในการจัดทำแผนตาง ๆ

                                       ั
               ใหสอดคลองและบูรณาการกนเพื่อใหเปนเอกภาพในการขับเคลื่อนไปสูเปาหมายดังกลาว โดยมียุทธศาสตรชาติ
               20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) เปนยุทธศาสตรชาตฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร
                                                       ิ
                                          ิ
                                                               ั
                                            ื
                                            ่
                     ี
                     ่
               ไทย ทจะเปนแนวทางการปฏิบัตเพอใหบรรลุผลตามวิสัยทศน ในป พ.ศ. 2580 กลาวคือ “ประเทศไทยมีความ
                ่
                                                                                                 ี
                         ั
                                                                                           ิ
                ั
               มนคง มงค่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจพอเพยง” โดยม     ี
                      ่
                      ั
               เปาหมายในการพัฒนาประเทศให “
                                                                                               ี
                                 ั
                        เศรษฐกจพฒนาอยางตอเนื่อง สังคมเปนธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยจะมการยกระดับ
                              ิ
                                                   ้
                ั
                                                                    ุ
                                                   ั
                                                         ั
                                                                        ิ
                                                                                                ี
                                                                               ุ
               ศกยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ ทงการพฒนาคนในทกมิตและในทกชวงวัยใหเปนคนด เกง และม         ี
               คุณภาพ สรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
                                                                                ็
                                       
                        แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ในประเดนท่ (21) การตอตานการทุจริต
                                                                                   ี
                            ิ
                                                                          ุ
                                                                                           ิ
                                                                                          ิ
               และประพฤติมชอบ กำหนดเปาหมายไววา ประเทศไทยปลอดการทจริตและประพฤตมชอบ โดยกำหนด
                                                                               ุ
                ั
               ตวชีวัดไววา ในป พ.ศ. 2580 ประเทศไทยตองมีคะแนนดัชนีการรับรูการทจริต (Corruption Perception
                   ้
                                    ั
                             
                                                         
                                 ั
                                                                                            ็
               Index - CPI) อยูในอนดบ 1 ใน 20 และ/หรือไดคะแนนไมตำกวา 73 คะแนน (คะแนนเตม 100 คะแนน)
                                                                   ่
                                                                 
               เพอใหบรรลุผลดงกลาว จึงไดนำผลการประเมน ITA ไปกำหนดเปนตัวชี้วัดและคาเปาหมายไววาหนวยงานท ่ ี
                                        
                                                      ิ
                             ั
                 ื
                 ่
                                                            
                                                        
               เขารวมการประเมิน ITA ทั้งหมด (รอยละ 100) ตองไดคะแนน 90 คะแนนขึ้นไป โดยในระยะที่ 2 (พ.ศ. 2566
                                                                             ี
               - 2570) ไดกำหนดตวชีวัดไววา ในป พ.ศ. 2570 ประเทศไทยตองมคะแนนดัชนีการรับรูการทจริต
                          
                                  ั
                                     ้
                                                                                                      ุ
               (Corruption Perception Index - CPI) อยูในอันดับ 1 ใน 43 และ/หรือไดคะแนนไมต่ำกวา 57 คะแนน และ
                                                                                       ้
               หนวยงานที่เขารวมการประเมิน ITA ทั้งหมด (รอยละ 100) ตองไดคะแนน 85 คะแนนขนไป
                                                                                       ึ
                                ่
                                                                                                       ั
                                ื
                         องคกรเพอความโปรงใสนานาชาติ (Transparency International - TI) เผยแพรผลคะแนนดชนี
               การรับรูการทุจริต (Corruption Perception Index - CPI) ประจำป 2564 ผลปรากฏวาประเทศไทยได 35
                                                                                                       
                                                    
               คะแนน จากคะแนนเตม 100 คะแนน จัดอยูในอนดบท 110 โลก ซงลดลงจากป 2563 ยอมสะทอนใหไดเห็น
                                                          ั
                                                             ี
                                                                       ึ่
                                  ็
                                                                                                
                                                             ่
                                                                                                      
                                                        ั
               วาประเทศไทยยังตองแกไขปญหาการทุจริตอยางเรงดวน
                                                                  ี
                                                                                          ่
                                                                ี
                                                                ่
                        โดยองคกรปกครองสวนทองถ่นเปนหนวยงานทมความสำคัญยิ่งในการขับเคลือนยุทธศาสตรชาต   ิ
                                                 ิ
                                              
                          
                                                                 ึ
                                            ิ
                                                                     
                                                                                    
                                         
               ปจจุบันมีองคกรปกครองสวนทองถ่น จำนวน 7,850 แหง ซ่งองคกรปกครองสวนทองถนเปนหนวยงานของรัฐ
                                                                                       ิ
                                                                                       ่
                                                                                           ุ
                                                                                          ี่
               ภายใตโครงสรางการจัดระเบียบบริหารราชการตามหลักการกระจายอำนาจการปกครอง ทมงเนนการกระจาย
               อำนาจจากสวนกลางลงสูทองถ่นและเปนกลไกหนึ่งในการสงเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เปน
                                         ิ
                                                                         ่
                                                                         ื
                                                                                                         ื
                                                         ิ
                                                                                                     ่
                                                                                                     ิ
                                                                                                  
               หนวยงานหลักในการจัดทำบริการสาธารณะและกจกรรมสาธารณะเพอประโยชนของประชาชนในทองถน ถอ
                                    ั
               เปนกลไกสำคญในการพฒนาทองถนซงนำไปสูการพฒนาทวทงประเทศ หากองคกรปกครองสวนทองถน
                           ั
                                                                                                     
                                                                                                        ่
                                                                                      
                                                                                                        ิ
                                                                  ่
                                                                  ั
                                                                     ั
                                          
                                                                     ้
                                                ่
                                                ึ
                                              ่
                                              ิ
                                                             ั
                                                                           ั
                                                     ั
                                                              ิ
               ปราศจากการทจริต นำเงินงบประมาณมาพฒนาทองถ่นของตนเอง พฒนาเพอประโยชนสุขของประชาชน
                            ุ
                                                                                 ่
                                                                                 ื
                                                                                                       
                                                                 ั
                                                                                               ั
               อยางแทจริงแลว ประเทศชาตกจะมความเจริญกาวหนาทดเทยมนานาอารยะประเทศ การพฒนาองคกร
                                                          
                                           ็
                                                                     ี
                                         ิ
                                               ี
                       
                                                     
                               ิ่
                                                                                           
                           
                                                                   ิ
                                                                                              ิ
               ปกครองสวนทองถนใหเกดความยั่งยืน รัฐจะตองใหความเปนอสระแกองคกรปกครองสวนทองถ่น โดยยึดหลัก
                                    ิ
                                                                         
                                                        
                                                                           ิ
                                                                           ่
               แหงการปกครองชุมชนของตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถน และสงเสริมใหองคกรปกครองสวน
                                                                                             

                                                            2
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17