Page 25 - แผนพัฒนาเทศบาล 66-70
P. 25

-๑๗-

                                              ั
                                                 ุ
                                     (๓) ยกระดบคณภาพการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต อาทิ ปรับระบบบริหารจัดการ
               สถานศึกษาขนาดเล็ก ใหมีการจัดทรัพยากรรวมกันใหมีขนาดและจำนวนที่เหมาะสม ปรับปรุงแหลงเรียนรูในชุมชน
               ใหเปนแหลง เรียนรูเชิงสรางสรรคและมีชีวิต
                                                                                      ึ
                                     (๔) ลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพและใหทุกภาคสวนคำนึงถงผลกระทบตอสุขภาพ อาทิ
                                                        ่
               สงเสริมใหมีกิจกรรมทางสุขภาพและโภชนาการทีเหมาะสมกับวย ปรับปรุงมาตรการทางกฎหมายและ ภาษในการ
                                                                    ั
                                                                                                        ี
               ควบคุมผลิตภัณฑที่สงผลเสียตอสุขภาพ
                                     (๕) เพิ่มประสิทธภาพการบริหารจัดการระบบสุขภาพ ภาครัฐและปรับระบบการเงินการ
                                                   ิ
                                                                                                           ้
               คลังดานสุขภาพ อาทิ ปรับระบบบริหารจัดการทรัพยากรรวมกันระหวาง สถานพยาบาลทุกสังกัดในเขตพืนที     ่
                                                                            
                    
               สุขภาพ
                                                         ู
                                                                                   ่
                                     (๖) พัฒนาระบบการดแลและสรางสภาพแวดลอมทีเหมาะสมกับ สังคมสูงวัย อาทิ
               ผลักดันใหมีกฎหมายการดูแลผูสูงอายุระยะยาว
                                     (๗) ผลักดันใหสถาบันทางสังคมมีสวน รวมพัฒนาประเทศอยางเขมแข็ง อาทิ กำหนด
               มาตรการดแลครอบครัวทีเปราะบาง และสงเสริม สถาบันการศึกษาใหเปนแหลงบริการความรูทางวิชาการที่ทุกคน
                        ู
                                     ่
               เขาถึงได  
                              1.2.2 ยุทธศาสตรการสรางความเปนธรรมและลดความเหลือมล้ำในสังคม มีแนวทางการ
                                                                                    ่
                              
               พัฒนา ประกอบดวย
                                                                                                   ่
                                     (๑) การเพิ่มโอกาสใหกับกลุมเปาหมาย ประชากรรอยละ ๔๐ ที่มีรายไดตำสุดสามารถ
               เขาถึงบริการที่มีคุณภาพของรัฐและมีอาชีพ อาทิ ขยายโอกาส การเขาถึงการศกษาที่มีคุณภาพใหแกเดกและ
                                                                                                         ็
                                                                                    ึ
                                                                                         ั
               เยาวชนที่ดอยโอกาสทางการศึกษาอยางตอเน่อง โดยใหการดูแล นักเรียนที่ครอบคลุมต้งแตการสรางรายไดของ
                                                      ื
               ครัวเรือน สนับสนุนคาเดินทางไปยังสถานศึกษา ใหทุนการศึกษา ตอระดับสูง
                                                                                                            ่
                                     (๒) การกระจายการใหบริการภาครัฐทังดานการศกษา สาธารณสุข และสวสดการทีมี
                                                                                ึ
                                                                      ้
                                                                                                     ั
                                                                        
                                                                                                       ิ
               คุณภาพให ครอบคลุมและทั่วถึง อาทิ บริหารจัดการการใหบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพใหครอบคลุมทุกพื้นที  ่
               ผานการ พัฒนาระบบสงตอผูปวยทั้งในระดับจังหวัด ภาค และระดับประเทศใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น
                                                                                  ุ
                                                                                                         
                                                                                                             ็
                                                   ั
                                                          ุ
                                     (๓) เสริมสรางศกยภาพชมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชมชนและการสรางความเขมแขง
               การเงินฐานรากตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได มีสิทธิในการจัดการทุน
                                                                      
                                                                                                      ุ
               ที่ดนและทรัพยากร ภายในชมชน อาทิ สนับสนุนการใหความรูในการบริหารจัดการทางการเงินแกชมชนและ
                                        ุ
                  ิ
                                                            
                                                 ุ
               ครัวเรือน การปรับ องคกรการเงินของชมชนใหทำหนาที่เปนสถาบันการเงินในระดับหมูบาน/ตำบลที่ทำหนาที่ทั้ง
               การใหกูยมและการออม และจัดตังโครงขายการเงินฐานรากโดยมีธนาคารออมสินและธนาคารเพือการเกษตรและ
                      
                       ื
                                                  
                                           ้
                                                                                                ่
               สหกรณเปน แมขาย
                      
                                                                             ิ
                                              
                              1.2.3 ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกจและแขงขันไดอยางยั่งยืน มีแนวทาง
                                                    
               การพัฒนา ประกอบดวย
                                     (๑) การบริหารจัดการเศรษฐกิจ สวนรวม ทั้งในดานการคลัง อาทิ เพิ่มประสิทธิภาพการ
               จัดแผนงานโครงการ การจัดสรรงบประมาณ การ บริหาร และการตรวจสอบกระบวนการงบประมาณ และดาน
                                                                                                           
                                                                             ้
               การเงิน อาทิ เพิมประสิทธิภาพของระบบการเงิน และสถาบันการเงินทังในตลาดเงินและตลาดทุนใหสามารถ
                             ่
               สนับสนุนการขยายตวทางเศรษฐกิจ
                                ั
                                                                                     ั
                                     (๒) การเสริมสรางและพัฒนาขดความสามารถในการแขงขนของภาคการผลิตและบริการ
                                                              ี
                                                                                   
                                                                                                 
               มุงเนนการสรางความ เชอมโยงของหวงโซมูลคาระหวางภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ และการคาการลงทุน เพือ
                                                     
                                   ื
                                   ่
                                                                                                             ่
                                                           
               ยกระดับ ศกยภาพในการแขงขนของประเทศ โดยยกระดบการผลิตสินคาเกษตรและอาหารเขาสูระบบมาตรฐาน
                                                                            
                         ั
                                                               ั
                                         ั
                                       
                                                                                              
                                                                                                
                                ็
                                                                                                     ี
                                                                         ั
                                                                                                      ั
               ตอยอดความเขมแขงของอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพปจจุบันเพื่อยกระดบไปสูอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยขนสูง วาง
                                                                                                      ้
                            
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30