Page 29 - แผนพัฒนาเทศบาล 66-70
P. 29
-๒๑-
ุ
ิ
ุ
ั
หลากหลาย และสงเสริมการรวมกลุมเกษตรกร รวมทังวสาหกิจชมชน สงเสริมและสนบสนนการตลาด
้
ประชาสัมพันธ สินคา และบริการ พัฒนาอุตสาหกรรมเช่อมโยง สนับสนุนการเปนศนยกลางสุขภาพครบ วงจร
ื
ู
รวมถึงการบริหารความเสี่ยงเพื่อใหมีสินคาเพียงพอกับความตองการ
ั
2) ยุทธศาสตรสงเสริมอตลักษณการทองเที่ยวเชื่อมโยงกลุมจังหวัด อารยธรรมทวารวด ไปยัง
ี
แหลงทองเที่ยวในภูมิภาคอาเซียน และยกระดับการทองเที่ยวใหมี ชื่อเสียง
ี
เนนเรื่องการทองเที่ยวเชื่อมโยงภายในกลุมจังหวัด โดยมีประเด็น “อารยธรรมทวารวด”
เปนกรอบ ในการดำเนนการ โดยใหความสำคญกับการพัฒนาแหลงทองเที่ยวที่สอดคลองและสัมพันธกับ
ั
ิ
ประวติศาสตร ประเพณวฒนธรรม อารยธรรมทวารวดี วิถีชุมชน รวมถึงการทองเที่ยวทางธรรมชาติเชิงอนุรักษ เพื่อ
ี
ั
ั
รักษา ความอุดมสมบูรณและสภาพแวดลอมที่สวยงามของแหลงทองเที่ยว ซึ่งจะมุงเนนทางดานการประชาสัมพันธ
การมีอีเวนทหรือกิจกรรมตางๆ เพื่อดึงดูดนักทองเที่ยวมายังกลุมจังหวัด โดยจะตองมีการปรับปรุงแหลง ทองเที่ยว
่
เช่อมโยงกิจกรรม ตลอดจนบุคลากรดานการทองเที่ยว รวมถึงการปรับปรุงสินคาดานการทองเทียว ใหสือความ
่
ื
ึ
หมายถงอารยธรรมทวารวด ี
ั
ิ
3) ยุทธศาสตรพัฒนาและสงเสรมการคาชายแดนและการคาผานแดนใหมีศักยภาพ ผลักดน
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ นำไปสูการกระตุนใหเกิดการคา การลงทุน เชื่อมโยงการคาสูเอเชีย
เนนเรืองการสรางขดความสามารถในการแขงขน โดยเฉพาะการคา การลงทุนระหวาง
ี
่
ั
ประเทศ เพือ เช่อมโยงไปยังดานตะวันตกสูเอเชีย โดยใชจังหวัดกาญจนบุรีที่ไดรับการสงเสริมใหเปนเขตพัฒนา
ื
่
ิ
ั
้
ื
เศรษฐกิจ พิเศษเปนประตูเช่อมโยงไปยงโครงการพัฒนาทาเรือนำลึกและเขตนคมอุตสาหกรรมทวาย รวมถง
ึ
เชื่อมโยง การพัฒนากับประเทศเพือนบานในระดับภมิภาคโลก ตามแกนการพัฒนาตามแนวพืนทีพัฒนาเศรษฐกิจ
ู
้
่
่
ตอน ใต (Southern Economic Corridor: SEC) กับสนามบินสุวรรณภูมิและทาเรือแหลมฉบัง ในภาคตะวันออก
4) ยุทธศาสตรยกระดบการผลิต ภาคเกษตรกรรม พาณิชยกรรม อตสาหกรรม สินคา ชุมชน
ุ
ั
และภาคแรงงาน ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตโดยเนนวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวตกรรม สูประเทศไทย
ั
๔.๐
ิ
่
ั
ั
่
เนนการสรางนวตกรรมการจัดการ ความคดริเริม และการตลาด เพือยกระดบการผลิต
ภาค เกษตรกรรม พาณชยกรรม อุตสาหกรรม สินคาชมชน และภาคแรงงาน ภายใตกรอบแนวคดประเทศไทย 4.0
ุ
ิ
ิ
็
็
เพือสรางความเขมแขงภาคการเกษตร ความมันคงของอาหารและพลังงาน และในประเดนการจัดการ
่
่
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ซึ่งจะทำใหประเทศรอดพนจากกับดักรายไดปานกลาง
ี
1.3.3 แผนพัฒนาจังหวัดกาญจนบุร (พ.ศ. 2566 – 2570)
วิสัยทัศนจังหวัดกาญจนบุร ี
“คนมีคุณภาพ สภาพแวดลอมดี เกษตรมีมาตรฐาน การทองเที่ยวอัตลักษณเมืองกาญจน เปนยาน
อุตสาหกรรมและประตูสูทวาย”
ประเด็นการพัฒนาของจังหวัด
ประเด็นการพัฒนาที่ ๑ การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในทุกมิต มีแนวทางการพัฒนาดังน ี ้
ิ
(1) พัฒนาใหบริการสาธารณสุขอยางครบวงจร ทั่วถึงและทันตอสถานการณ
(2) พัฒนาคุณภาพการศึกษาและทักษะการเรียนรู
(3) สงเสริมการจัดกิจกรรมเชิงสรางสรรคแกกลุมเสี่ยงเพื่อลดปญหายาเสพติด
อาชญากรรม และแมวัยใส
ี
(4) พัฒนาทักษะการประกอบอาชพ
(5) พัฒนาคุณภาพชีวิตของผูสูงอายุทุกระดับชั้น