Page 260 - แผนพัฒนาเทศบาล (พ.ศ.2566-2570) แก้ไข ครั้งที่ 1/2566
P. 260

-๑๕๕-



             ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566) โครงการที่ไม่ได้ด าเนินการหรือยกเลิกโครงการคิดเป็นร้อยละ 26.22 ของโครงการที่
             ได้รับอนุมัติงบประมาณให้ด าเนินการทั้งหมด

                               (2)  ผลกระทบ
                                    สรุปภาพรวมพอสังเขปได้ว่าปัญหา/ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นนั้น มีอยู่
             มากมายหลายด้าน  ซึ่งเทศบาลได้พยายามที่จะด าเนินการแก้ไขสภาพปัญหาต่างๆ ให้หมดสิ้นหรือบรรเทาลงไป
                                                                             ื่
             โดยค านึงถึงความส าคัญและความจ าเป็นเร่งด่วนที่จ าต้องด าเนินการแกไข  เพอให้สามารถสนองตอบความต้องการ
                                                                        ้
             ของประชาชนได้อย่างแท้จริง  แต่ก็ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ครบถ้วนทุกด้าน  เนื่องจากเทศบาลมีข้อจ ากัดและ
             อุปสรรคทางการบริหารต่างๆ เช่น ขาดงบประมาณในการด าเนินการ  ขาดบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะ
                                 ี
             ด้าน  วัสดุอปกรณ์ไม่เพยงพอแก่การปฏิบัติงานและยังไม่ทันสมัยเท่าที่ควร  แต่อย่างไรก็ตามเทศบาลได้ด าเนินการ
                       ุ
                      ั
             ตามแผนพฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 – 25๖5)  รวมทั้งได้มีการปรับแผนเพอให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ท าให้
                                                                             ื่
             สามารถแก้ไขปัญหาได้ดีในระดับหนึ่งไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม สาธารณูปโภค การบริหารจัดการที่ดี และ
             ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  เทศบาลได้พยายามที่จะประสานขอรับการสนับสนุน
             งบประมาณจากส่วนราชการอน  รวมทั้งหน่วยงานภาคเอกชน โดยมุ่งเน้นที่จะแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและ
                                        ื่
             สนองตอบความต้องการของประชาชน เพื่อความผาสุกของประชาชนในท้องถิ่นเป็นส าคัญ


                     4.3.2 สรุปผลการพัฒนาท้องถิ่นในภาพรวม
                            1)  การวัดผลในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

                                 ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดท าแผนพฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                                                                             ั
             พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561 ข้อ ๓๐ (๕) ก าหนดว่า ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอผลการติดตามและประเมินผล
             ต่อสภาท้องถิ่น และคณะกรรมการพฒนาท้องถิ่น พร้อมทั้งประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพฒนา
                                                                                                       ั
                                             ั
             ท้องถิ่นให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบในที่เปิดเผยภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอผลการติดตาม
             และประเมินผลดังกล่าว และต้องปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน โดยอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งภายใน
             เดือนธันวาคมของทุกปี และ ข้อ 29 (3) ก าหนดว่า ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรายงานผลและเสนอความเห็น
             ซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพฒนาต่อผู้บริหารท้องถิ่น เพอให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอต่อสภาท้องถิ่น
                                                  ั
                                                                         ื่
                               ั
                                                                                          ั
             และคณะกรรมการพฒนาท้องถิ่น พร้อมทั้งประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพฒนาให้ประชาชนใน
             ท้องถิ่นทราบในที่เปิดเผยภายในสิบห้าวันนับแต่วันรายงานผลและเสนอความเห็นดังกล่าว  และต้องปิดประกาศไว้
             เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน โดยอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งภายในเดือนธันวาคมของทุกปี
                              ซึ่งการวัดผลในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เป็นการแสดงถึงวิธีการติดตามและประเมินผล

             แผนพฒนา โดยก าหนดรูปแบบที่จะใช้ติดตามและประเมินผล เพอตรวจสอบว่าการด าเนินโครงการอยู่ภายใต้
                   ั
                                                                     ื่
             ระยะเวลาและงบประมาณที่ก าหนดไว้หรือไม่ และผลของการด าเนินโครงการบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ โครงการใด
             ที่จะด าเนินการในไตรมาสแรก ไตรมาสที่สอง ไตรมาสที่สาม และไตรมาสสุดท้าย และมีการประเมินผลการด าเนิน
                                                           ี
             โครงการดังกล่าวว่ามีประสิทธิภาพปละประสิทธิผลเพยงใด โดยใช้เกณฑ์ตัวชี้วัดคุณค่าของโครงการ 4 ตัวชี้วัด
             ได้แก่ งบประมาณในการด าเนินการ ระยะเวลาในการด าเนินการ ผลผลิต และผลลัพธ์ในการด าเนินการ และ

             สรุปผลการด าเนินงานตามแผนว่ามีโครงการใดบ้างที่สามารถน ามาปฏิบัติได้จริง โครงการใดที่ไม่ได้ท าเพราะสาเหตุ
             อะไร เป็นการประเมินศักยภาพของเทศบาลในการด าเนินการตามแผนที่ได้วางไว้ รวมไปถึงการประเมินตามค่า
                                                                                ั
                                                                                                          ึ
             เป้าหมายที่ก าหนดไว้ในแต่ละยุทธศาสตร์ นอกจากนี้ยังมีแบบประเมินผลแผนพฒนาโดยใช้แบบประเมินความพง
             พอใจต่อผลการด าเนินการ ประกอบด้วย
                                1)  แบบประเมินความพึงพอใจต่อผลการด าเนินงานของเทศบาลในภาพรวม
                                2)  แบบประเมินความพึงพอใจต่อผลการด าเนินงานของเทศบาลในแต่ละยุทธศาสตร์



             เทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่น
   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264