Page 262 - แผนพัฒนาเทศบาล (พ.ศ.2566-2570) แก้ไข ครั้งที่ 1/2566
P. 262
-๑๕๗-
๔.4.๒ ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ผลจากการพัฒนา
ั
1) คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพฒนาเทศบาล อาจน าแนวทางต่างๆ มาใช้ในการ
ติดตามและประเมินผล โดยจะต้องสามารถประเมินความสอดคล้องและสามารถวัดความส าเร็จหรือความก้าวหน้า
ของแผนพัฒนาได้ โดยมีแนวทางในการติดตามและประเมินผลดังนี้
(1) ความสอดคล้องของยุทธศาสตร์ แผน และกลยุทธ์ที่ก าหนด
(2) ความเพียงพอของทรัพยากรเพอการด าเนินกิจกรรมของหน่วยงาน
ื่
(3) ความก้าวหน้าของกิจกรรมที่ก าหนดไว้ตามแผนโดยมีการติดตามผล
ั
(4) ประสิทธิภาพ เป็นการศึกษาความสัมพนธ์ระหว่างผลผลิตกับทรัพยากรที่ใช้ในการ
ประเมิน ประสิทธิภาพ
(5) ประสิทธิผล เป็นการศึกษาผลที่ได้รับ
(6) ผลลัพธ์และผลผลิต เป็นการประเมินผลประโยชน์ที่เกิดจากการท ากิจกรรมที่มีต่อ
กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการ และการประเมินผลผลิตที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม
(7) การประเมินผลกระทบ เป็นการศึกษาผลที่ได้รับรวมยอด
ื่
ิ
ทั้งนี้ จะต้องพจารณาองค์ประกอบส าคัญของข้อมูลเพอน าไปสู่ข้อเสนอแนะให้ผู้บริหาร
ท้องถิ่นทราบ
2) โครงการตามแผนพฒนาในแต่ละปีงบประมาณ ควรก าหนดขึ้นโดยค านึงถึงผลลัพธ์หรือ
ั
้
ิ
ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนและท้องถิ่น ทั้งทางตรงและทางออม เปิดโอกาสให้ประชาชนแสดงความคดเห็น
ร่วมคิด ร่วมท า ร่วมรับผิดชอบในการด าเนินโครงการต่างๆ
3) ควรเร่งรัดให้มีการด าเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ตั้งในเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายให้สามารถ
ด าเนินการได้ในปีงบประมาณนั้น
ี
4) ควรพจารณาตั้งงบประมาณให้เพยงพอและเหมาะสมกับภารกิจแต่ละด้านที่จะต้องด าเนินการ
ิ
ิ่
ซึ่งจะช่วยลดปัญหาในการโอนเพม โอนลด โอนตั้งจ่ายรายการใหม่ โดยวิเคราะห์จากการใช้งบประมาณโครงการ
แต่ละโครงการเพื่อให้การจัดสรรงบประมาณเกิดความคุ้มค่า และมีประสิทธิภาพ
5) การจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่นควรพิจารณางบประมาณและค านึงถึงสถานะคลังในการพิจารณา
โครงการ/กิจกรรม ที่จะบรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่น
6) ควรน าแนวทางการประเมินผลโครงการเชิงคุณภาพมาปรับปรุงการด าเนินโครงการต่างๆ ใน
ปีงบประมาณถัดไปของทุกปี
เทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่น