Page 43 - ebook
P. 43

34



                                                                                           ้
                                                                                          ี
                                                                                              ่
                                                                                           ื
                                    
                               
                                                                         ื้
                                                                   ิ
                                                                                               ั
                                                                                               ้
                   อเนกประสงค และกอสรางสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรต ร.9 พนที่สวนสาธารณะ มพนทีทงหมด 32 ไร
                                      ื่
                                                                     
                          
                   3 งาน กอสราง เสร็จเมอป พ.ศ.2530 ภายในสวนประกอบดวย ศาลาเฉลิมพระเกียรติ สระน้ำ สวนหยอม
                   สวนสุขภาพ สถานทพกผอนหยอนใจ สนามเดกเลน สนามกฬา (ฟุตบอล เทนนิส บาสเกตบอล) ตอมา
                                                                                              ็
                                                                      ี
                                      ั
                                    ่
                                                          ็
                                    ี
                     ื
                                             
                     ่
                   เมอปงบประมาณ พ.ศ.2546 ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมการปกครอง จำนวน 12,926,000 บาท
                     ื
                   เพ่อปรับปรุงสภาพภูมิทัศนภายในสวน กอสราง ปรับปรุงอาคาร ทางเดิน หองน้ำ สถานทออกกำลังกาย
                                                                                              ่
                                                                                              ี
                                                     
                                                                                  
                   ระบบระบายน้ำ ระบบรดน้ำตนไม และจัดสวน ตกแตงปลูกตนไมประดับใหม ทำใหเกิดความสวยงาม
                                            
                                               
                                                                                                      ี
                                                                                                        
                                       
                                 หลวงพอเพชร วัดทาเรือ วัดทาเรือ สรางขึ้นเมอประมาณ พ.ศ.2408 โดยหลวงจง ภักด (ตน
                                                          
                                                                      ื่
                                     
                                                   ื
                                               ึ
                                               ้
                                                   ่
                                                                                    ี
                                        ่
                        ั
                           
                   สกุลพนธุภักดี) เปนผูริเริมสรางขน เมอสรางวัดเสร็จแลว ไมมีพระพุทธรูป ท่จะบูชาประจำวัด จึงไดไป
                                                                                                     ุ
                                                 
                   อาราธนา พระพทธรูป ทอยูในโบสถรางทาสารมาเปนพระประธานบูชาประจำวัด ขนามนามพระพทธรูป
                                                      
                                        ี่
                                 ุ
                   องคนี้วา “หลวงพอเพชร” พุทธลักษณะสมัยอยุธยา ปางสมาธิ สรางดวยศิลาแดง ขนาด หนาตัก 29 นิ้ว
                                        
                                 หลวงพอดำ วัดตะคร้ำเอน ป พ.ศ.2498 โดยคหบดีชื่อ ทองหอ เช็งสุทธา เกดศรัทธา
                                                                                                  ิ
                                          
                                                                                         ึ่
                                                       ุ
                                                                        
                                           ่
                                           ี
                                                                                                   ุ
                   ในพระพุทธศาสนา ประสงคทจะสรางพระพทธรูป รวม 113 องค (ชวงวันวิสาขบูชา) ซงเปนพระพทธรูป ที ่
                   คงความสงางาม มีเอกลักษณทโดดเดนตามลักษณะพระพุทธรูปปางมารวิชัยผสมผสานลักษณะอทอง
                                              ี
                                              ่
                                                                                                      ู
                                            
                                                   
                            
                          
                                                                            ่
                                                      ั
                             ้
                                                                            ื
                                                                                      ุ
                   ประยุกต เนือทองสัมฤทธิ ลงรักดำ หนาตกกวางประมาณ 45 นิ้ว เพอเปนพระพทธรูปบูชา ในโอกาสปที ่
                                        ์
                   จะครบกงพทธกาล (ครบรอบพุทธศาสนา 2500 ป) วันท 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2499 ถึง วันที 13 เมษายน
                             ุ
                                                                  ี่
                                                                                               ่
                          ่
                          ึ
                   พ.ศ. 2500
                                                                                          ุ
                                 ป พ.ศ.2500 พระครูประกาศสุนทรกิจ (หลวงพอสนธิ์) ไดไปรับพระพทธรูป และอัญเชิญ
                                                                                
                                                               
                                                                                    ิ
                                                            ้
                   ประดิษฐาน เปนพระประธาน ภายในอโบสถ จากนันทานพระครูประกาศสุนทรกจ และประชาชน ไดรวมกัน
                                                  ุ
                   ปดทององคพระประธาน
                                 ปพุทธศักราช 2503-2504 พระครูประกาศสุนทรกิจ ไดนิมิตอยูบอยครั้งวา หลวงพอพระ
                   ประธาน ไมประสงคจะอยู ในอโบสถ ประสงคท่จะประดิษฐานอยูหนาอุโบสถ พระครูประกาศสุนทรกจ
                                             ุ
                                                           ี
                                         
                             
                                    
                                                                                                        ิ
                         ั
                                                                          
                                                                   ี
                                                                   ่
                   จึงไดอญเชิญมาประดิษฐาน ณ หนาอุโบสถ ตอมา ทองทปดองคพระประธานไดลอกหลุดจากองคพระ
                                                                                       
                                                                                                      
                       
                                      ิ
                                                                                   
                   พระครูประกาศสุนทรกจ จึงดำริจะปดทองอีกครั้ง แตกนิมิต ขึ้นอีกวา หลวงพอพระประธาน ประสงคสีดำ
                                                                                                      
                                                                ็
                   คงสภาพเดิมอยางนั้น ประชาชนจึงเรียกกันติดปาก ตามภาพที่เห็นวา “หลวงพอดำ” จนถงปจจุบัน
                                                                                            ึ
                              อาจารยโหพฒน (หลวงพอแหง) โรงเจ เขง ซิว ตั๊ว อาจารยโหพฒน เดิมชื่อ ชุนหยี่ เซี่ยงฉน
                                                                 
                                                                                    ั
                                         ั
                                     
                                                        
                                                                    ่
                                                    
                                                                                                        ิ
                   ทานบรรพชาเปนสามเณร เมออายุ 11 ป ณ วัดถาวรวราราม จนครบอายุ 20 ป จึงได อปสมบท ณ พทธสีมา
                                          ่
                                          ื
                    
                                                                                                    ั
                                                                                         ุ
                                                            
                                                 ั
                   วัดถาวรวราราม ไดรับฉายาวา โหพฒนทานเปนผูเครงครัดในระเบียบวินัย มงสวดมนต และปฏิบัตธรรม
                                                     
                                                                                                     ิ
                                                                                   ุ
                                                                                                      
                           ี
                                                                                                 ี
                                                            ี
                   บำเพ็ญเพยรวิปสสนากรรมฐาน เชือกันวา ทานมญาณสมาธิแกกลา สำเร็จวิชาวิปสสนาธุระ มความรูแจง
                                                ่
                                                                                                   ่
                                                      ั
                                                                                                   ื
                                                                            
                   เห็นจริง เปนทเคารพศรัทธาของชาวบานท่วไป หลังจากมรณภาพได 7 วัน ไดบรรจุศพเก็บไว เพอรอการ
                               ่
                               ี
                                                                                   
                   ฌาปนกิจ เมอครบกำหนด 3 ป จึงทำพิธีเปดโลงศพ ปรากฏวาสภาพศพไมเนาเปอย ผิวเนื้อแหง ดวงตา
                              ื
                              ่
                                                                                         
                                          ี
                                                ่
                                                    ุ
                   เปดเล็กนอย มองด เหมอนมชีวิต เมอเหตการณปรากฏเปนเชนนัน จึงทำพธีอญเชิญองคทาน ขึ้นประดิษฐาน
                                                                       ้
                                                                                           
                                      ื
                                                                                 ั
                                                ื
                                                                               ิ
                                  ู
                                                         
                   ณ โรงเจเขงซิ้วตั๊ว เพื่อเปนทสักการะบูชา ของสาธุชน สืบไปชั่วกาลนาน
                                          ี่
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48