Page 6 - รายงานการติดตามประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล ปี พ.ศ.2566
P. 6
-2-
ั
ดำเนินงาน ประกอบกับระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ิ่
พ.ศ. 2548 แก้ไขเพมเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2561 หมวด 6 ข้อ 30(5) กำหนดให้ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอผลการ
ั
ติดตามและประเมินผลต่อสภาท้องถิ่น และคณะกรรมการพฒนาท้องถิ่น พร้อมทั้งประกาศผลการติดตามและ
ประเมินผลแผนพฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบในที่เปิดเผยภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ผู้บริหารท้องถิ่น
ั
เสนอผลการติดตามและประเมินผลดังกล่าวและต้องปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน โดยอย่าง
น้อยปีละหนึ่งครั้งภายในธันวาคมของทุกปี
ดังนั้น เพอให้การปฏิบัติเป็นไปตามเจตนารมณ์ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการ
ื่
ั
จัดทำแผนพฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 แก้ไขเพมเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2561หมวด 6
ิ่
ข้อ 30(5) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงต้องรายงานผลการดำเนินงานการจัดทำงบประมาณ และการ ใช้จ่าย
งบประมาณ รวมทั้งการติดตามและประเมินผลแผนพฒนาท้องถิ่น เพอให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการ
ั
ื่
ตรวจสอบและกำกับการบริหารจัดการ
1.1 ความสำคัญของการติดตามและประเมินผลแผน
การติดตามถือได้ว่าเป็นเครื่องมือที่จำเป็นในการปรับปรุงประสิทธิภาพของโครงการที่
ดำเนินการอยู่โดยที่ “การติดตาม” (monitoring) หมายถึง กิจกรรมภายในโครงการซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อให้
ข้อมูลป้อนกลับ (feedback) เกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการ ปัญหาที่กำลังเผชิญอยู่และประสิทธิภาพของ
วิธีการดำเนินงาน หากไม่มีระบบติดตามของโครงการแล้ว ย่อมส่งผลให้เกิดความล่าช้าในการ ดำเนินงานให้
ลุล่วง ค่าใช้จ่ายโครงการสูงเกินกว่าที่กำหนดไว้ กลุ่มเป้าหมายหลักของโครงการไม่ได้รับประโยชน์หรือได้รับ
น้อยกว่าที่ควรจะเป็น เกิดปัญหาในการควบคุมคุณภาพของการดำเนินงานเสียเวลาในการตรวจสอบความ
ขัดแย้งในการปฏิบัติงานภายในหน่วยงานหรือระหว่างหน่วยงานกับกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์จาก
โครงการ
ในทางตรงกันข้ามหากโครงการมีระบบติดตามที่ดีแล้ว จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้
ต้นทุน (cost-effective) ดำเนินงานด้านต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น การให้ข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับการบรรลุ
เป้าหมายของโครงการต่างๆ การระบุปัญหาที่เกิดขึ้นในโครงการและการเสนอทางแก้ปัญหา การติดตามดู
ความสามารถในการเข้าถึงโครงการของกลุ่มเป้าหมาย การติดตามดูประสิทธิภาพในการดำเนินงานของส่วน
ต่าง ๆ ในโครงการและการเสนอวิธีการปรับปรุงการดำเนินงาน
โดยส่วนใหญ่แล้วผู้บริหารโครงการมักจะไม่ให้ความสำคัญกับการวางระบบติดตาม
โครงการ เนื่องจากว่าเป็นสิ่งที่ต้องใช้เทคนิคเชิงวิชาการค่อนข้างสูง จึงปล่อยให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงาน
ระดับสูงกว่าเป็นผู้ดำเนินการ นอกจากนี้ยังเสียค่าใช้จ่ายสูง และก่อให้เกิดความยุ่งยากซับซ้อนในทางปฏิบัติ
ี
อย่างไรก็ตามในความเป็นจริงแล้วขึ้นอยู่กับความจำเป็นและทรัพยากรที่มอยู่ในแต่ละโครงการ เพราะฉะนั้นจะ
เห็นได้ว่าการวางระบบติดตามไม่จำเป็นที่จะต้องแบกรับภาระต้นทุนที่สูงหรือมีความซับซ้อนแต่อย่างใด บาง
โครงการมีระบบติดตามที่อาศัยพนักงานชั่วคราว (part-time) เพยงคนเดียว โดยมีหน้าที่จัดทำรายงานการ
ี