Page 10 - รายงานการติดตามประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล ปี พ.ศ.2566
P. 10
-5-
ื้
และประเมินผล ก็จะทำให้ระบบติดตามและประเมินผลทำหน้าที่ของระบบไปได้ หากแต่แผนไม่เออต่อการ
ติดตาม เช่น ขาดความชัดเจน หรือมีการปรับกิจกรรมโดยไม่ได้ยึดแผนปฏิบัติการ ฯลฯ ก็อาจทำให้ระบบ
ติดตามและประเมินผลโดยรวมดังกล่าวมีปัญหาได้
2.1 ลักษณะทั่วไปของระบบติดตามและประเมินผล
ั
ระบบติดตามและประเมินผลแผนการพฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยุทธศาสตร์การ
พัฒนาจะสามารถติดตามแผนการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ที่ได้กำหนดไว้ได้ โดยจะปรากฏในรูปแบบของ
ั
รายงานในช่วงของแผนพฒนาท้องถิ่น โดยข้อมูลที่ได้จะถูกส่งไปยัง “หน่วยติดตามและประเมินผล” หรือ
M&E Unit (Monitoring And Evaluation Unit) ซึ่งได้แก่ “องค์การบริหารส่วนจังหวัด” ที่จะเป็นศูนย์กลาง
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการติดตามและจากการประเมินผล รวมตลอดจนเป็นศูนย์กลางในการ
วิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมของจังหวัดนอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็น “ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า” (Early
Warning System) ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมียุทธศาสตร์ที่ดีหรือไม่อย่างไร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สามารถดำเนินการได้ตามที่กำหนดไว้ เพยงใด การดำเนินการตามแผนที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร
ี
เพื่อประโยชน์ต่อการปรับปรุงให้ผลบรรลุผลได้ใน ทุกช่วงของแผนต่อไปในอนาคต
2.2 องค์ประกอบของระบบการติดตามและประเมินผล
ั
ระบบของการติดตามและประเมินผลแผนการพฒนาท้องถิ่นครั้งนี้ ประกอบไปด้วย
องค์ประกอบ 3 ส่วนหลัก คือ ส่วนของปัจจัยนำเข้า (Input) ส่วนของกระบวนการติดตาม (Process) และ
ส่วนของการประเมินผลผลลัพธ์ (Output Goal) ซึ่งสามารถอธิบายรายละเอียดได้ ดังนี้
1. ส่วนปัจจัยนำเข้า (Input) คือ ปัจจัยที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้อง “มี”
ื่
ั
เพอนำเข้าสู่ระบบติดตามและประเมินผลแผนพฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อนได้แก่ ยุทธศาสตร์
ั
ผู้ประเมิน ผู้ถูกประเมิน และเครื่องมือในการประเมิน ฯลฯ ซึ่งยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นที่มีอยู่แล้วจะถูกส่งเข้า
สู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ซึ่งเป็นหน่วยติดตามและประเมินผล (M&E UNIT) เพื่อเป็นการรวบรวมฐานข้อมูล
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งจังหวัดไว้โดยบทบาทของ M&E UNIT ต่อปัจจัยนำเข้า ก็คือ การเป็นผู้
วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยตนเอง
ครั้งนี้ ได้แก่ แบบรายงานแบบที่ 1 แบบช่วยกำกับการจัดทำยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็น
การทบทวนว่าการจัดทำแผนได้ใช้กระบวนการครบทุกขั้นตอนหรืออย่างไร
2. ส่วนของกระบวนการติดตาม (Process) คือ ช่วงของการดำเนินงานตามแผนพฒนา
ั
ท้องถิ่น ทั้งในระดับองค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งได้กำหนดเป็นการ
ติดตามรายไตรมาสคือ ไตรมาสที่ 1 (ตุลาคม-ธันวาคม) ไตรมาสที่ 2 (มกราคม-มีนาคม) ไตรมาสที่ 3 (เมษายน-
มิถุนายน) และไตรมาสที่ 4 (กรกฎาคม-กันยายน) ในแต่ละปี โดยการติดตามดังกล่าวเป็นการติดตามผลขั้น
กลาง (IR หรือ Intermediate Result) ของยุทธศาสตร์ว่าเป็นไปตามแผนพฒนาท้องถิ่นที่ได้กำหนดไว้หรือไม่
ั
ในรูปแบบของการรายงานเข้าสู่ส่วนกลาง โดยมีองค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นหน่วยในการประสานแผน
ท้องถิ่นในระดับจังหวัด ซึ่งในการติดตามใน ขั้นตอนนี้เป็นช่วงที่ทำให้ทราบว่า แผนพฒนาท้องถิ่นที่ได้
ั
กำหนดไว้ดีหรือไม่สามารถวัดได้จริงหรือเปล่า นอกจากนี้ การติดตามในทุกช่วงของแผนยังสามารถเป็น