Page 7 - รายงานการติดตามประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาล ปี พ.ศ.2566
P. 7
-3-
ี
ติดตามประจำไตรมาส หรือในบางโครงการอาศัยพนักงานเต็มเวลา (full time) เพยงจำนวนหนึ่งที่มีความ
่
เชี่ยวชาญในการทำการศึกษาติดตามเพื่อจะเลือกใช้วิธีติดตามที่กอให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้ต้นทุนสูงสุด
ในส่วนของ “การประเมินผล” นั้นเป็นสิ่งหนึ่งที่จำเป็นสำหรับการดำเนินการเช่นเดียวกับการ
ติดตาม เพราะผลที่ได้จากการประเมินจะใช้ในการปรับปรุง แก้ไข การขยายของเขต หรือการยุติการ
ดำเนินการซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการประเมิน การประเมินผลแผนงานจึงเป็นสิ่งที่จะบ่งชี้ว่าแผนงานที่
กำหนดไว้ได้มีการปฏิบัติหรือไม่ อย่างไร อันเป็นตัวชี้วัดว่าแผนหรือโครงการที่ได้ดำเนินการไปแล้วนั้นให้ผล
ี
เป็นอย่างไร นำไปสู่ความสำเร็จตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ อกทั้งการติดตามและประเมินผลยังเป็นการ
ตรวจสอบดูว่ามีความสอดคล้องกับการใช้ทรัพยากร(งบประมาณ)เพยงใด ซึ่งผลที่ได้จากการติดตามและ
ี
ประเมินผลถือเป็นข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ที่สามารถนำไปในการปรับปรุงและการตัดสินใจต่อไป
นอกจากนี้ การประเมินผลยังถือเป็นกระบวนการตัดสินคุณค่าและการตัดสินใจอย่างมีหลักเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูล
ที่เก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ มีความเที่ยงตรงเป็นปรนัยเชื่อถือได